ผู้นำภาคเอกชนขานรับแนวทางเร่งฟื้นตัวทางเศรษฐกิจระดับภูมิภาค จากการประชุมสภาที่ปรึกษาทางธุรกิจเอเปค (APEC Business Advisory Council – ABAC) ประชุมครั้งที่ 3 ซึ่งจัดขึ้นที่เมืองฮาลอง ประเทศเวียดนาม โดยเฉพาะประเด็นด้านการพัฒนาเพื่อความยั่งยืนซึ่งจะเปิดโอกาสใหม่ในการฟื้นตัวทางเศรษฐกิจในระยะยาวได้อย่างชัดเจน
ในการประชุมประจำไตรมาสของสภาที่ปรึกษาทางธุรกิจเอเปคเมื่อช่วงปลายเดือนกรกฎาคมที่ผ่านมาซึ่งเป็นการประชุมครั้งที่ 3 ที่ประชุมได้สรุปข้อเสนอแนะ 5 ประเด็นหลักที่จะรวบรวมเสนอในการประชุมเอเปคปลายปีนี้ ได้แก่ ความร่วมมือทางเศรษฐกิจระดับภูมิภาค (Regional Economic Integration) ที่เน้นการขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม, การสร้างโครงสร้างพื้นฐานทางดิจิทัล (Digital), การเสริมสร้างแนวทางการปฏิบัติที่ยั่งยืนของ MSMEs (MSME and Inclusiveness), การส่งเสริมระบบอาหารที่ยั่งยืนและยืดหยุ่น การนำ BCG โมเดลมาปรับใช้ ตลอดจนการเปลี่ยนผ่านไปสู่การลดคาร์บอน (Sustainability) และการดำเนินการตามมาตรการเศรษฐกิจมหภาค การคลัง และการเงิน เพื่อเร่งการฟื้นตัว (Finance and Economics)
ดร. กอบศักดิ์ ภูตระกูล กรรมการรองผู้จัดการใหญ่ ธนาคารกรุงเทพ เปิดเผยว่า ผลสรุปจากที่ประชุมเอแบคครั้งนี้ ชี้ให้เห็นว่า ภาคเอกชนทั่วเอเชียแปซิฟิกมีความเห็นไปในทางเดียวกันและมีแนวทางที่ชัดเจน คือ ต้องการเดินหน้าออกจากผลกระทบจากโรคระบาด COVID-19 และมุ่งเน้นการสร้างการเติบโตทางเศรษฐกิจโดยสามารถอยู่ร่วมกับโรคให้ได้ เพื่อผลักดันให้ภาคธุรกิจกลับเข้าสู่ภาวะปกติได้โดยเร็ว แม้ว่าจะยังคงมีความท้าทายจากภาวะเศรษฐกิจที่ชะลอตัว
“ความท้าทายสำคัญในอนาคต คือ ภาวะถดถอยทางเศรษฐกิจจะต้องเกิ
นอกจากนี้ ภาคเอกชนยังมองว่า ความยั่งยืน จะเป็นประเด็นหลักที่จะสร้
ดร.ชญาน์ จันทวสุ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานความยั่งยืนองค์กร บริษัท พีทีที โกลบอลเคมิคอล จำกัด (มหาชน) กล่าวว่า “ความยั่งยืน ไม่ได้เป็นเรื่องที่อยู่ไกล เป็นเรื่องที่เราต้องทำทันที สำหรับประเทศไทย ภาครัฐได้สนับสนุนเรื่อง BCG หรือ Bio-Circular-Green มาใช้ ถือเป็นโอกาสดีที่จะใช้จุดแข็
แม้ว่าหลายองค์กรจะกังวลว่า การพัฒนา หรือการลงทุนเพื่อปรับเปลี่ยนอุ
ดร.ชญาน์ กล่าวเสริมว่า ความสำเร็จในด้านการพัฒนาอย่
“ทุกฝ่ายต่างก็มองเห็นโอกาส แต่กฎเกณฑ์บางอย่างไม่เอื้อให้